พิทยะ ศรีวัฒนสาร
(ขอขอบคุณ Mr. Patrick Dumont จาก www.ayutthaya-history.com ที่เป็นผู้นำทางในการสำรวจครั้งนี้) พื้นที่เนินโบราณสถานในวัดเตว็ด
พื้นที่ทั้งหมดถูกปกคลุมด้วยต้นข่อย ตะโกและวัชพืชหลายชนิด
หน้าบันวัดเตว็ดมองจากด้านนอก
มองจากด้านนอก
ลวดลายที่หน้าบันวัดเตว็ดช่องหน้าต่างตรงกลางถัดลงมาจากกรอบหน้าบัน
ลวดลายคล้ายใบผักกูด(ลายใบเฟิร์น-fern) ซึ่งอาจารย์ ประยูร อุลุชาฏะ เคยเสนอว่าเป็นลวดลายแบบตะวันตก
อีกมุมหนึ่ง
รูปนี้ถ่ายก่อนวิเคราะห์ชิ้นส่วนประติมากรรมหินทราย เห็นทีแรกก็เข้าใจว่าเป็นชิ้นส่วนพระนลาฏพระพุทธรูป
ลวดลายที่หน้าบันวัดเตว็ดช่องหน้าต่างตรงกลางถัดลงมาจากกรอบหน้าบัน
ลวดลายคล้ายใบผักกูด(ลายใบเฟิร์น-fern) ซึ่งอาจารย์ ประยูร อุลุชาฏะ เคยเสนอว่าเป็นลวดลายแบบตะวันตก
อีกมุมหนึ่ง
รูปนี้ถ่ายก่อนวิเคราะห์ชิ้นส่วนประติมากรรมหินทราย เห็นทีแรกก็เข้าใจว่าเป็นชิ้นส่วนพระนลาฏพระพุทธรูป
ชิ้นส่วนพระเพลาขวาของพระพุทธรูปปูนปั้นหน้าตักกว้างประมาณ 15-20 นิ้ว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น